โดยมี รองผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน นายบรรจง ขุนเพชร ประธานพิธี นางปิยะนาถ ทูลพิพัฒน์ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดน่าน

ด้วยองค์การสหประชาชาติได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๑๙๙๙ ประกาศให้

วันที่ ๒๕ พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรี เพื่อรำลึกถึกถึงเหตุการณ์สังหารนักเคลื่อนไหวทางการเมืองสตรีชาวโดมินิกัน จำนวน ๓ คน ในคืนวันที่ 25พฤศจิกายน 1961 อันเนื่องมาจากเหตุผลทางการเมือง และนักเรียกร้องสิทธิสตรี ได้

ใช้วันที่ 25 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันรณรงค์และเรียกร้องให้ยุติความรุนแรงต่อสตรี

ตลอดมา สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๒

เห็นชอบให้เดือนพฤศจิกายนของทุกปีเป็น "เดือนรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และ

บุคคลในครอบครัว" ซึ่งกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

โดยกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว เป็นเจ้าภาพหลักในการบูรณาการความร่วมมือ

กับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรง

ต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว ทั้นส่วนกลางและภูมิภาคต่อเนื่องเป็นประจำทาทุกปี

ซึ่งในปี ๒๕๖๗ ได้จัดขึ้นภายใต้แนวหิต"สร้างสุขปลอดภัย ไร้ควานรุนแรง" (ACT NONN No

end Violence Against Women and Girls)

ปัญหาความรุนแรง ต่อเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว เป็นปัญหาที่ส่งกระกระกระทบ

อสังคมในวงกว้าง ซึ่งในปี ๒๕๖๗ จังหวัดน่าน มีเหตุการณ์ความรุนแรง ทั้งสิ้น

นดับที่ ๘ ของประเทศ ทั้งนี้ จากข้อมูลดังกล่าวพบว่าความสัมพันธ์ของผู้กระ

ผู้ถูกกระทำความรุนแรงมากที่สุด คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง สามีภรรยา จำนวน ๓๘ ราย คื

ละ ๖๒.๒๙ รองลงมาได้แก่ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดากับบุตร จำนวน ๑๕

คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๕๙

ซึ่งจังหวัดน่าน มีภาคีเครือข่ายร่วมเดินรณรงค์กว่า 500 คน





















/////////

ปาริฉัตร์ สองสียนต์/ข่าวน่าน

แสดงความคิดเห็น